1 กุมภาพันธ์ 2554

การเลี้ยงหมู


รายละเอียดเพิ่มเติม Click here ?

การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน


รายละเอียดเพิมเติม Click here ?

การเลี้ยงไก่พื้นเมือง







การเลี้ยงไก่พื้นเมือง มีประโยชน์พอสรุปได้ดังนี้

1. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาดมีประโยชน์พอสรุปได้ดังนี้

1. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาด. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาด

2. เพิ่มพูนรายได้ของเกษตรกร โดยแทนที่จะต้องเสียเงินไปซื้อเนื้อไก่และไข่ไก่มากิน ก็สามารถเอาเงินนั้นเก็บไว้ซื้อสิ่งอื่น ๆ ที่จำ เป็น และหากเลี้ยงไว้จนเหลือกินแล้วก็สามารถนำ ไปขายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวด้วยเพิ่มพูนรายได้ของเกษตรกร โดยแทนที่จะต้องเสียเงินไปซื้อเนื้อไก่และไข่ไก่มากิน ก็สามารถเอาเงินนั้นเก็บไว้ซื้อสิ่งอื่น ๆ ที่จำ เป็น และหากเลี้ยงไว้จนเหลือกินแล้วก็สามารถนำ ไปขายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวด้วย

More detail ?

การทำไบโอดีเซล จากน้ำมันพืชใช้แล้ว

พลังงานทดแทน
ไบโอดีเซล
( biodiesel) เป็นสารอินทรีย์จำพวกโมโนอัลคิลเอสเตอร์
(
Monoalkylesters)ผลิตได้จากปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชั่น ( transesterification)
โดยการทำปฏิกิริยากันระหว่างนำมันพืช
เช่น เมทานอล หรือ เอทานอล และใช้สารเร่งปฏิกิริยาซึ่งส่วนใหญ่
จะใช้สารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือ
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ผลพลอยได้จากปฏิกิริยา คือ
กลีเซอรอลซึ่งสามารถนำไปทำสบู่ได้
/ไขมันสัตว์ กับแอลกอฮอล์
การผลิต
ไบโอดีเซล สามารถผลิตได้จากน้ำมันพืชใหม่ หรือ
น้ำมันพืชที่ใช้แล้ว เช่น น้ำมันพืชทอดปาท่องโก๋ ทอดไก่ หากใช้
น้ำมันพืชที่ผ่านการทอดมาแล้ว จะต้องกรองเศษอาหารออกก่อน
ส่วนข้อดีมีอยู่หลายประการ คือ ราคาถูก
( ลิตรละ 0 10 บาท )หาง่าย และช่วยลดปัญหาเรื่องขยะและมลพิษทางน้ำ
More detail ?

การทำไร่นาสวนผสม

การเกษตรของไทยในอดีตเป็นการทำการเกษตรเพื่อยังชีพ โดยอาศัย
ความอุดมสมบูรณ์จากธรรมชาติ จึงไม่ค่อยจะพบปัญหามากนัก แต่ปัจจุบันมีการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
มีการใช้เทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอแก่การบริโภค
ของประชากรและเพื่อการส่งออกเป็นรายได้เข้าสู่ประเทศ จึงทำให้การทำการเกษตร
ในปัจจุบันประสบปัญหามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช รวมทั้งด้านการตลาดซึ่งนับวันจะแปรปรวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
จากปัญหาดังกล่าว การทำ ไร่นาสวนผสมจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของ
เกษตรกรที่จะลดความเสี่ยงที่เกิดจากภัยธรรมชาติและความไม่แน่นอนของราคาผลผลิต
โดยการทำการเกษตรหลายๆ อย่าง เพื่อเพิ่มระดับรายได้ สามารถหมุนเวียนการใช้
ทรัพยากรในไร่นาได้มากขึ้น สร้างความสมดุลให้กับธรรมชาติทำให้ระบบนิเวศเกษตร
ของชุมชนดีขึ้น เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและมีความมั่นคงในการที่จะประกอบ
อาชีพการเกษตรต่อไป
More detail?

คู่มือดำเนินงานปลูกหญ้าแฝก

การที่หญ้าแฝกถูกนำมาใช้ปลูกในการอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องมาจากมีลักษณะ
เด่นหลายประการ ดังนี้
1.
มีการแตกหน่อรวมเป็นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง
2.
มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ต้องดูแลมาก
3.
หญ้าแฝกมีข้อที่ลำต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี
4.
ส่วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดทำให้ควบคุมการแพร่ขยายได้
5.
มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่ายแข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย
6.
ระบบรากยาว สานกันแน่นและช่วยอุ้มน้ำ
7.
บริเวณรากเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์
8.
ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดีทนทานต่อโรคพืชทั่วไป9.
More detail?
ส่วนที่เจริญต่ำกว่าผิวดิน ช่วยให้อยู่รอดได้ดีในสภาพต่าง ๆ

การทำปุ๋ยหมักจากผักตบชวา

ผักตบชวา
คลอง บึง จะเคลื่อนสู่แม่น้ำสายใหญ่ ในช่วงที่มี
น้ำหลาก ประมาณกันว่าผักตบชวาในแหล่งน้ำต่างๆ
รวมแล้วปีละไม่น้อยกว่า
สัญจรไปมาทางน้ำเป็นอย่างยิ่ง และยังเป็นที่อยู่อาศัย
ของ งู หนู และยุง ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อโรคอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังเป็นสาเหตุทำให้สัตว์น้ำลดจำนวนลงมาก
เนื่องจากมีอากาศไม่เพียงพอต่อการหายใจ
เป็นไม้น้ำล้มลุกหลายฤดู และเป็นวัชพืชที่มีอยู่ทั่วไปตาม ห้วย หนอง2 ล้านตัน จึงกีดขวางต่อการ
ผักตบชวา
เป็นจำนวนมาก สามารถดูดซับเอาแร่ธาตุอาหารที่ปะปนอยู่กับตะกอนในน้ำมาไว้ในส่วนต่างๆ
ของลำต้น ฉะนั้นเมื่อสลายตัวเป็นปุ๋ยหมัก ก็จะได้แร่ธาตุอาหารพืชสูงตามไปด้วย
มีระบบรากฝอย
ผักตบชวา
สารตัวเร่ง เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยเคมี หรือเชื้อจุลินทรีย์ผสมลงไป ผักตบชวาจึงนับว่าเป็น
วัชพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เกษตรกรสมควรนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำเป็นปุ๋ยหมัก
จะเน่าเปื่อยผุผังเป็นปุ๋ยหมักได้อย่างรวดเร็วถ้าหากมีการเพิ่มMore detail ?

การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน


คำนำ
More detail ?
 

การเลี้ยงปลาในนาข้าว หรือการเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น สุกร เป็ด ไก่ และการเลี้ยงปลา
ร่วมกับปลานั้น เกษตรกรในประเทศไทย และต่างประเทศได้ปฏิบัติกันมานานแล้ว เช่น จีน
ไต้หวัน ฮ่องกง ญี่ปุ่น รวมทั้งบางประเทศในยุโรปตะวันออก เช่น ฮังการี ประเทศเหล่านี้ต่างยอมรับว่า
ระบบการผลิตสัตว์น้ำและสัตว์บกที่ผสมผสานกันนี้ เอื้ออำนวยประโยชน์ให้แก่กันเป็นอย่างดี
นับเป็นระบบการผลิตทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูงมากระบบหนึ่ง

การเลี้ยงจิ้งหรีด

จิ้งหรีดเป็นแมลงที่พบได้อยู่ทั่วไปในธรรมชาติ ชอบหลบซ่อนตัว
ตามสนามหญ้า ตามรอยแตกของดิน มีวงจรชีวิตสั้น แพร่พันธุ์ได้
เร็ว ปัจจุบันนิยมนำมาประกอบอาหารของมนุษย์ และใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์
เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันต่ำ ดังตารางเปรียบเทียบคุณค่าทางอาหารของ
จิ้งหรีดกับเนื้อสัตว์และแมลงชนิดอื่นๆต่อน้ำหนัก
100 กรัมMore detail ?

การเลี้ยงปลาดุกอุย

ปลาดุกอุย
sharptooth catfish)
( Clarias macrocephalus ) เป็นปลาพื้นบ้านของไทยชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่างเรียวยาว มีหนวด 4 เส้น ที่ริมฝีปากผิวหนังมีสีนํ้าตาล เนื้อมีสีเหลือง รสชาติอร่อยนุ่มนวลสามารถนำ มาปรุงแต่งเป็น อาหารชนิดต่างๆ ได้มากมายในประเทศไทยมีพันธุ์ปลาดุกอยู่จำ นวน 5 ชนิด แต่ที่เป็นที่รู้จักทั่วๆไป คือ ปลาดุกอุยและปลาดุกด้าน (Clarias batrachus)ซึ่งในอดีตทั้งปลาดุกอุยและปลาดุกด้านได้มีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายเมื่อไม่นานมานี้เองเกษตรกรได้นำ พันธุ์ปลาดุกชนิดหนึ่งเข้ามาเลี้ยงในประเทศไทยซึ่งอธิบดีกรมประมงได้มีคำ สั่งให้กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าสถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดดำ เนินการศึกษาพบว่าเป็นปลาในตระกูลแคทฟิช เช่นเดียวกับปลาดุกอุย มีถิ่นกำ เนิดในทวีปแอฟริกา มีชื่อว่า (Clarias gariepinus Africanเป็นปลาที่มีการเจริญเติบใจรวดเร็วมาก สามารถกินอาหารได้แทบทุกชนิด มีความต้านทานโรคและสภาพแวดล้อมสูงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ แต่ปลาดุกชนิดนี้มีเนื้อเหลว และมีสีซีดขาว ไม่น่ารับประทานซึ่งกรมประมงได้ให้ชื่อว่า ปลาดุกเทศ
     จากการศึกษาทางลักษณะรูปร่างและชีววิทยาของปลาดุกเทศทางกลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดได้ทำ การเพาะขยายพันธุ์ปลาโดยนำ มาผสมพันธุ์กับปลาดุกอุยและปลาดุกเทศผลปรากฏว่า การผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง ปลาดุกอุยเพศเมียผสมกับปลาดุกเทศเพศผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ดีลูกที่ได้มีอัตราการเจริญเติบโตรวดเร็ว ทนทานต่อโรคสูง มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาดุกอุยจึงทำ ให้เกษตรกรนำ วิธีการผสมข้ามพันธุ์ไปปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งลูกหลานที่เกิดจากคู่ผสมนี้ทางกรมประมงให้ชื่อว่า ปลาดุกอุย
-เทศ แต่โดยทั่วๆไปชาวบ้านเรียกกันว่า บิ๊กอุย หรือ อุยบ่อ ส่วนการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุกอุยเพศผู้กับปลาดุกเทศเพศเมียลูกที่ได้ไม่แข็งแรงและเหลือรอดน้อย เมื่อเทียบกับการเพาะพันธุ์เพื่อให้ได้ปลาบิ๊กอุย ส่วนการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุกด้านกับปลาดุกเทศ ไม่ประสบผลสำ เร็จเท่าที่ควรในปัจจุบันนี้อาจกล่าวได้ว่าปลาดุกลูกผสมอุย-เทศหรือบิ๊กอุยนั้นเป็นที่นิยมเลี้ยงของเกษตรกร เนื่องจากเลี้ยงง่ายมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว อีกทั้งทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้อมได้ดี ทั้งยังเป็นที่นิยมบริโภคของประชาชนเนื่องจากมีรสชาติดีและราคาถูกMore detail ?

การเลี้ยงปลาช่อน

ข้อมูลทั่วไป
ชื่อไทย ช่อน
(ภาคกลางและภาคใต้ ) , ค้อ ( ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ )
ชื่อสามัญ
STRIPED SNAKE-HEAD FISH
ชื่อวิทยาศาสตร์
Channa striatus
ปลาช่อนเป็นปลาพื้นเมืองของไทย พบอาศัยแพร่กระจายทั่วไปตามแหล่งน้ำทั่วทุกภาค
ของไทย อาศัยอยู่ในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ หนองและบึง ปลาช่อนเป็นปลาน้ำจืด
ที่มีมาหลายร้อยพันปีแล้วนอกจากจะพบในประเทศไทยยังมีแพร่หลายในประเทศจีน อินเดีย ศรี
ลังกา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือว่าการเลี้ยงปลาช่อนในประเทศไทยเกิดขึ้น
ครั้งแรกที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรีประมาณ
อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นนายทุนได้รวบรวมลูกพันธุ์จากแหล่งน้ำธรรมชาติใน
เขตพื้นที่อำเภอสองพี่น้อง มาทดลองเลี้ยงดูและเห็นว่าพอเลี้ยงได้จึงออกทุนให้กับคนญวนที่มี
ภูมิลำเนาติดกับแม่น้ำท่าจีนและคลองสองพี่น้องในตำบลสองพี่น้อง ตำบลต้นตาล โดยสร้าง
กระชังในล่อนแล้วแต่ขนาดและความเหมาะสม นำลูกปลาช่อนมาลงเลี้ยง โดยผลผลิตที่ได้
นายทุนจะรับซื้อเอง แต่ทำได้ไม่นานก็ต้องเลิกเพราะเกษตรกรบางรายนำลูกปลาช่อนไปลอง
เลี้ยงในบ่อดินและพบว่าได้ผลดีกว่าและต้นทุนต่ำกว่า และปริมาณลูกปลาช่อนที่ได้รับก็มีจำนวน
มากกว่า
40 ปีมาแล้ว โดยชาวจีนที่ตลาดบางลี่
ลักษณะทั่วไป
ปลาช่อนเป็นปลามีเกล็ด ลำตัวอ้วนกลมและยาวเรียว ท่อนหางแบนข้าง หัวแบนลง
เกล็ดมีขนาดใหญ่และเกล็ดตามลำตัวเป็นสีเทาจนถึงน้ำตาลอมเทา ปากกว้างมาก มุมปากยาว
ถึงตา ริมฝีปากล่างยื่นยาวกว่าริมฝีปากบน มีฟันซี่เล็กๆอยู่บนขากรรไกรทั้งสองข้าง ตามีขนาด
ใหญ่ ครีบทุกครีบไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหลังและครีบก้นยาวจนเกือบถึงโคนหาง ครีบหลังมีก้าน
ครีบ
กลม โคนครีบหางแบนข้างมาก ลำตัวส่วนหลังมีสีดำ ท้องสีขาว ด้านข้างลำตัวมีลายดำพาด
เฉียง เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมีจำนวน
ช่อนจึงมีความอดทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี อยู่ในที่ชื้นๆได้นาน และสามารถเคลื่อนไหวไปมาบ
นบกหรือฝังตัวอยู่ในโคลนได้เป็นเวลานานๆ
38-42 อัน ครีบก้นมีก้านครีบ 24-26 อัน ครีบอกมีขนาดใหญ่ ครีบท้องมีขนาดเล็ก ครีบหาง49-55 เกล็ด และมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ปลาMore detail ?

21 มกราคม 2554

การเลี้ยงกบ


เนื่องจากสถานการณ์ความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่มีอัตราประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้นๆ และ
ปริมาณความต้องการในการบริโภคเพิ่มขึ้นติดตามมากอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ขณะเดียวกันที่
ทรัพยากรธรรมชาติหรือแม้แต่ผลผลิตทางการเกษตรลดน้อยลงเป็นไปในลักษณะผกผัน โดย
เฉพาะอาชีพเกษตรกรรมของพี่น้องเกษตรกรที่ต้องอาศัยความชุ่มชื้นจากธรรมชาติถึง
75%
นอกจากนั้นแล้วยังต้องพบกับความผิดหวังเมื่อจำ หน่ายผลผลิตไม่ได้ราคา หรือถูกพ่อค้า
คนกลางกดราคารับซื้อ สิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นต้นเหตุที่ทำ ให้เกษตรกรต้องขวนขวาย
หาแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มรายได้ เช่น การขุดบ่อเลี้ยงปลา การเลี้ยงกบ
ฯลฯ แต่สำ หรับการเลี้ยงกบนั้น ปัจจุบันเป็นที่น่าสนใจแก่เกษตรกรเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะ
กบเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ใช้เวลาน้อย ลงทุนน้อย ดูแลรักษาง่าย และจำ หน่ายได้ราคาคุ้ม
กับการลงทุน โดยเฉพาะในปัจจุบันมีตลาดต่างประเทศที่ต้องการสินค้ากบเปิดกว้างมากขึ้น
กบนาที่เป็นผลผลิตของเกษตรกรเมืองไทยจึงมีโอกาสส่งจำ หน่ายไปยังต่างประเทศมากขึ้นเช่น
กัน และสาเหตุอีกอย่างหนึ่งที่มีผู้หันมาเลี้ยงกบกันมากขึ้น เพราะปริมาณกบที่อยู่ตามแหล่ง
ธรรมชาติมีจำ นวนลดนอ้ ยลงทุกที ๆ เนอื่ งจากแหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ของมนั ถกู เปลยี่ นแปลงเปน็ ทอี่ ยู่
อาศัยของมนุษย์ รวมทั้งการสร้าง โรงงานอุตสาหกรรม การใช้สารพิษกำ จัดศัตรูพืช การใช้ยา
กำ จัดวัชพืช กำ จัดปูนา ล้วนแล้วแต่มีส่วนทำ ลายพันธุ์กบในธรรมชาติให้หมดสิ้นไปแต่ละปี ๆ
ทั้งนี้รวมทั้งการจับกบมาจำ หน่ายหรือการประกอบอาหาร โดยไม่มีการละเว้นกบเล็กกบน้อย
เป็นการตัดหนทางการแพร่พันธุ์กบโดยสิ้นเชิงอีกด้วย แต่ถึงกระนั้นก็ตาม ผู้เลี้ยงกบหลายราย
ต้องประสบความล้มเหลวในการเพาะเลี้ยงกบอันเนื่องจากการไม่เข้าใจการเลี้ยง โดยเฉพาะไม่
เข้าใจในอุปนิสัยใจคอของกบซึ่งมีความสำ คัญเพื่อประกอบการเลี้ยงเช่น กบมีนิสัยดุร้ายและ
ชอบรังแกกัน การเลี้ยงกบคละกันโดยไม่คัดขนาดเท่า ๆ กันในบ่อเดียวกัน เป็นเหตุให้กบใหญ่
รังแกและกัดกินกบเล็กเป็นอาหาร หรือไม่รู้ว่านิสัยใจคอของกบเป็นสัตว์ที่ชอบอิสระเสรี เมื่อ
สภาพที่เลี้ยงมีลักษณะโปร่ง เช่น เปน็ อวนไนลอนทำ ใหก้ บสามารถมองเหน็ ทวิ ทศั นภ์ ายนอก
มันจะกระตือรือร้นที่จะดิ้นรนหาทางออกไปสู่โลกภายนอก โดยจะกระโดดชนอวนไนลอนจน
ปากบาดเจ็บและเป็นแผล เป็นเหตุให้ลดการกินอาหารหรือถ้าเจ็บมาก ๆ ถึงกับกินอาหารไม่
ได้เลยก็มี อย่างไรก็ตาม เอกสารคำ แนะนำ เรื่องการเลี้ยงกบนี้ จะแนะวิธีการเลี้ยงทั้งแบบกึ่ง
พัฒนาและการเลี้ยงแบบพัฒนา ทั้งนี้เพื่อผู้ที่สนใจจะได้ศึกษาวิธีการเลี้ยงแต่ละแบบเพื่อนำ ไป
ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ทุนทรัพย์และสิ่งแวดล้อมต่อไป
More detail ?

20 มกราคม 2554

การเลี้ยงปลากดเหลือง


ปลากดเหลือง

(Mytus nemurus, Cuv & Val) เป็นปลานํ้าจืดพื้นบ้านที่ไม่มีเกล็ดของไทย พบแพร่กระจายกว้างขวางในแหล่งนํ้าธรรมชาติ ตลอดจนอ่างเก็บนํ้าและเขื่อนต่าง ๆ รวมทั้งบริเวณปากแมน้ำเป็นน้ำกร่อย ปจัจบันปลากดเหลืองเป็นปลาน้ำ จืดเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่เกษตรกรสนใจทำการเพาะเลี้ยงเป็นอาชีพ โดยเฉพาะในจังหวัดนครศรีธรรมราช บริเวณพื้นที่ลุ่มนํ้าปากพนัง เกษตรกรจะนิยมเลี้ยงปลากดเหลืองในกระชังและในบ่อดินที่เคยเลี้ยงกุ้งกุลาดำ มาก่อน ปลากดเหลืองจัดว่าเป็นปลาชั้นดีในท้องตลาด จึงเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและนอกประเทศ โดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ ปลากดเหลืองจึงเป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่คาดว่าจะเป็นปลาที่มีความสำ คัญทางเศรษฐกิจมากในอนาคตและมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาการเพาะเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ต่อไป

ขั้นตอนการปลูกเห็ดนางฟ้า



         การเพาะเห็ดเศรษฐกิจชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฮังการี เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดขอนขาว เห็ดยานางิ(เห็ดโคนญี่ปุ่น) เป็นต้น และขยายผลสู่เกษตรกร ในพื้นที่ศูนย์ฯ โดยการนำเกษตรกรที่สนใจเข้ารับการฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติและกลับไปเพาะเห็ดในพื้นที่ของตนเอง


More detail ?

การเพาะเห็ดฟาง

การเพาะเห็ด

เศรษฐกิจพอเพียงแบบพึ่งพาตนเอง




“ เศรษฐกิจพอเพียง ” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส

ชี้แนะแนวทางในการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด

วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถ

ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆเศรษฐกิจพอเพียง ” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส

ชี้แนะแนวทางในการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด

วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถ

ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด

วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถ

ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชน

ในทุกระดับตั้งแต่ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนิน

ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้อง

มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก

และภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรู้ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการ

ต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐาน

จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกใน

คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร

มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายบนอกได้เป็นอย่างดี

( ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

ซึ่งพระราชทานในโอกาสต่างๆ รวมทั้งพระราชดำรัสอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป

ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไข

พระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามที่ขอพระมหากรุณา

ตามหนังสือที่ รล. 0003/18888 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 สำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง

กทม.). 0003/18888 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 สำนักราชเลขาธิการ พระบรมมหาราชวัง

กทม.).)

สมัยก่อน เกษตรกรจะทำการผลิตเพื่อการบริโภค โดยอาศัยธรรมชาติตาม

สภาพแวดล้อม มีการปลูกพืชหลากหลายชนิดคละกัน ทั้งพืชผัก ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร

พืชใช้สอย ในลักษณะของสวนผสม พืชเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยา ซึ่งกันและกัน

มีความต้องการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม กับการเจริญเติบโตแตกต่างกันไป เกี่ยวกับแสงแดด อุณหภูมิ

ความชื้น ดิน เป็นต้น เช่นพืชทรงพุ่มขนาดเล็กต้องการแสงน้อย อยู่ใต้พืชที่ทรงพุ่มใหญ่ การทำลาย

ของโรคแมลงที่เกิดขึ้น ก็จะเป็นการควบคุมพืชบางชนิดให้มีปริมาณเหมาะสมในระบบนิเวศของพืช

พืชที่ขึ้นปะปนหรือคละกัน มีคุณสมบัติช่วยยับยั้งการระบาดของโรคแมลงพืชชนิดอื่นได้ ทำให้สามารถ

ดำรงชีวิตอยู่ได้

More detail

ความรู้เรื่องผักหวานป่า





“ผักหวานป่า”...จากป่ามาสู่สวน..ให้อยู่รอดได้อย่างไร
    

     ประเทศไทยของเรานั้น เต็มไปด้วยความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ ที่สามารถเลี้ยงชีวิตผู้คนทั่วทั้งผืนแผ่นดินได้อย่างอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะพืชผักพื้นบ้านต่างๆ ถือเป็นอาหารที่มีคุณค่าทั้งทางโภชนาการ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ที่สำคัญเมื่อรู้จักบริหารจัดการทรัพยากรเหล่านั้นแล้ว ย่อมเสริมสร้างรายได้ให้เราได้อีกด้วย
   
     พืชผักพื้นบ้านที่กล่าวถึงนั้น คือ “ผักหวานป่า” ไม้ยืนต้นที่ขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าธรรมชาติ เป็นผักที่มีรสชาติดี นำไปประกอบอาหารได้หลายอย่าง อาทิ แกงส้ม อ่อม ลวกหรือรับประทานสดๆ กับน้ำพริก ก็สุดแล้วแต่ใครจะสรรหาวิธีรับประทาน ที่สำคัญจัดเป็นผักพื้นบ้านที่มีราคาค่อนสูง เพราะหายากมีเฉพาะฤดูกาลเท่านั้น ที่สำคัญว่ากันว่าปลูกยาก น้อยคนนักที่นำมาปลูกให้ประสบความสำเร็จ
    
More detail ?
Code by : paid web directory