1 กุมภาพันธ์ 2554

การเลี้ยงหมู


รายละเอียดเพิ่มเติม Click here ?

การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน


รายละเอียดเพิมเติม Click here ?

การเลี้ยงไก่พื้นเมือง







การเลี้ยงไก่พื้นเมือง มีประโยชน์พอสรุปได้ดังนี้

1. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาดมีประโยชน์พอสรุปได้ดังนี้

1. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาด. เกษตรกรได้มีเนื้อไก่และไข่ไก่กินเป็นอาหารเพิ่มโปรตีน ซึ่งทั้งเนื้อไก่และไข่ไก่เป็นอาหารที่มีคุณค่ามีประโยชน์ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ทำ ให้เด็กเติบโตเร็วและช่วยบำ รุงสมองให้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาด

2. เพิ่มพูนรายได้ของเกษตรกร โดยแทนที่จะต้องเสียเงินไปซื้อเนื้อไก่และไข่ไก่มากิน ก็สามารถเอาเงินนั้นเก็บไว้ซื้อสิ่งอื่น ๆ ที่จำ เป็น และหากเลี้ยงไว้จนเหลือกินแล้วก็สามารถนำ ไปขายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวด้วยเพิ่มพูนรายได้ของเกษตรกร โดยแทนที่จะต้องเสียเงินไปซื้อเนื้อไก่และไข่ไก่มากิน ก็สามารถเอาเงินนั้นเก็บไว้ซื้อสิ่งอื่น ๆ ที่จำ เป็น และหากเลี้ยงไว้จนเหลือกินแล้วก็สามารถนำ ไปขายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวด้วย

More detail ?

การทำไบโอดีเซล จากน้ำมันพืชใช้แล้ว

พลังงานทดแทน
ไบโอดีเซล
( biodiesel) เป็นสารอินทรีย์จำพวกโมโนอัลคิลเอสเตอร์
(
Monoalkylesters)ผลิตได้จากปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชั่น ( transesterification)
โดยการทำปฏิกิริยากันระหว่างนำมันพืช
เช่น เมทานอล หรือ เอทานอล และใช้สารเร่งปฏิกิริยาซึ่งส่วนใหญ่
จะใช้สารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือ
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ผลพลอยได้จากปฏิกิริยา คือ
กลีเซอรอลซึ่งสามารถนำไปทำสบู่ได้
/ไขมันสัตว์ กับแอลกอฮอล์
การผลิต
ไบโอดีเซล สามารถผลิตได้จากน้ำมันพืชใหม่ หรือ
น้ำมันพืชที่ใช้แล้ว เช่น น้ำมันพืชทอดปาท่องโก๋ ทอดไก่ หากใช้
น้ำมันพืชที่ผ่านการทอดมาแล้ว จะต้องกรองเศษอาหารออกก่อน
ส่วนข้อดีมีอยู่หลายประการ คือ ราคาถูก
( ลิตรละ 0 10 บาท )หาง่าย และช่วยลดปัญหาเรื่องขยะและมลพิษทางน้ำ
More detail ?

การทำไร่นาสวนผสม

การเกษตรของไทยในอดีตเป็นการทำการเกษตรเพื่อยังชีพ โดยอาศัย
ความอุดมสมบูรณ์จากธรรมชาติ จึงไม่ค่อยจะพบปัญหามากนัก แต่ปัจจุบันมีการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
มีการใช้เทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอแก่การบริโภค
ของประชากรและเพื่อการส่งออกเป็นรายได้เข้าสู่ประเทศ จึงทำให้การทำการเกษตร
ในปัจจุบันประสบปัญหามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช รวมทั้งด้านการตลาดซึ่งนับวันจะแปรปรวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
จากปัญหาดังกล่าว การทำ ไร่นาสวนผสมจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของ
เกษตรกรที่จะลดความเสี่ยงที่เกิดจากภัยธรรมชาติและความไม่แน่นอนของราคาผลผลิต
โดยการทำการเกษตรหลายๆ อย่าง เพื่อเพิ่มระดับรายได้ สามารถหมุนเวียนการใช้
ทรัพยากรในไร่นาได้มากขึ้น สร้างความสมดุลให้กับธรรมชาติทำให้ระบบนิเวศเกษตร
ของชุมชนดีขึ้น เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและมีความมั่นคงในการที่จะประกอบ
อาชีพการเกษตรต่อไป
More detail?

คู่มือดำเนินงานปลูกหญ้าแฝก

การที่หญ้าแฝกถูกนำมาใช้ปลูกในการอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องมาจากมีลักษณะ
เด่นหลายประการ ดังนี้
1.
มีการแตกหน่อรวมเป็นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง
2.
มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ต้องดูแลมาก
3.
หญ้าแฝกมีข้อที่ลำต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี
4.
ส่วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดทำให้ควบคุมการแพร่ขยายได้
5.
มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่ายแข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย
6.
ระบบรากยาว สานกันแน่นและช่วยอุ้มน้ำ
7.
บริเวณรากเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์
8.
ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดีทนทานต่อโรคพืชทั่วไป9.
More detail?
ส่วนที่เจริญต่ำกว่าผิวดิน ช่วยให้อยู่รอดได้ดีในสภาพต่าง ๆ

การทำปุ๋ยหมักจากผักตบชวา

ผักตบชวา
คลอง บึง จะเคลื่อนสู่แม่น้ำสายใหญ่ ในช่วงที่มี
น้ำหลาก ประมาณกันว่าผักตบชวาในแหล่งน้ำต่างๆ
รวมแล้วปีละไม่น้อยกว่า
สัญจรไปมาทางน้ำเป็นอย่างยิ่ง และยังเป็นที่อยู่อาศัย
ของ งู หนู และยุง ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อโรคอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังเป็นสาเหตุทำให้สัตว์น้ำลดจำนวนลงมาก
เนื่องจากมีอากาศไม่เพียงพอต่อการหายใจ
เป็นไม้น้ำล้มลุกหลายฤดู และเป็นวัชพืชที่มีอยู่ทั่วไปตาม ห้วย หนอง2 ล้านตัน จึงกีดขวางต่อการ
ผักตบชวา
เป็นจำนวนมาก สามารถดูดซับเอาแร่ธาตุอาหารที่ปะปนอยู่กับตะกอนในน้ำมาไว้ในส่วนต่างๆ
ของลำต้น ฉะนั้นเมื่อสลายตัวเป็นปุ๋ยหมัก ก็จะได้แร่ธาตุอาหารพืชสูงตามไปด้วย
มีระบบรากฝอย
ผักตบชวา
สารตัวเร่ง เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยเคมี หรือเชื้อจุลินทรีย์ผสมลงไป ผักตบชวาจึงนับว่าเป็น
วัชพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เกษตรกรสมควรนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำเป็นปุ๋ยหมัก
จะเน่าเปื่อยผุผังเป็นปุ๋ยหมักได้อย่างรวดเร็วถ้าหากมีการเพิ่มMore detail ?

การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน


คำนำ
More detail ?
 

การเลี้ยงปลาในนาข้าว หรือการเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น สุกร เป็ด ไก่ และการเลี้ยงปลา
ร่วมกับปลานั้น เกษตรกรในประเทศไทย และต่างประเทศได้ปฏิบัติกันมานานแล้ว เช่น จีน
ไต้หวัน ฮ่องกง ญี่ปุ่น รวมทั้งบางประเทศในยุโรปตะวันออก เช่น ฮังการี ประเทศเหล่านี้ต่างยอมรับว่า
ระบบการผลิตสัตว์น้ำและสัตว์บกที่ผสมผสานกันนี้ เอื้ออำนวยประโยชน์ให้แก่กันเป็นอย่างดี
นับเป็นระบบการผลิตทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูงมากระบบหนึ่ง

การเลี้ยงจิ้งหรีด

จิ้งหรีดเป็นแมลงที่พบได้อยู่ทั่วไปในธรรมชาติ ชอบหลบซ่อนตัว
ตามสนามหญ้า ตามรอยแตกของดิน มีวงจรชีวิตสั้น แพร่พันธุ์ได้
เร็ว ปัจจุบันนิยมนำมาประกอบอาหารของมนุษย์ และใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์
เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันต่ำ ดังตารางเปรียบเทียบคุณค่าทางอาหารของ
จิ้งหรีดกับเนื้อสัตว์และแมลงชนิดอื่นๆต่อน้ำหนัก
100 กรัมMore detail ?

การเลี้ยงปลาดุกอุย

ปลาดุกอุย
sharptooth catfish)
( Clarias macrocephalus ) เป็นปลาพื้นบ้านของไทยชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่างเรียวยาว มีหนวด 4 เส้น ที่ริมฝีปากผิวหนังมีสีนํ้าตาล เนื้อมีสีเหลือง รสชาติอร่อยนุ่มนวลสามารถนำ มาปรุงแต่งเป็น อาหารชนิดต่างๆ ได้มากมายในประเทศไทยมีพันธุ์ปลาดุกอยู่จำ นวน 5 ชนิด แต่ที่เป็นที่รู้จักทั่วๆไป คือ ปลาดุกอุยและปลาดุกด้าน (Clarias batrachus)ซึ่งในอดีตทั้งปลาดุกอุยและปลาดุกด้านได้มีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายเมื่อไม่นานมานี้เองเกษตรกรได้นำ พันธุ์ปลาดุกชนิดหนึ่งเข้ามาเลี้ยงในประเทศไทยซึ่งอธิบดีกรมประมงได้มีคำ สั่งให้กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าสถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดดำ เนินการศึกษาพบว่าเป็นปลาในตระกูลแคทฟิช เช่นเดียวกับปลาดุกอุย มีถิ่นกำ เนิดในทวีปแอฟริกา มีชื่อว่า (Clarias gariepinus Africanเป็นปลาที่มีการเจริญเติบใจรวดเร็วมาก สามารถกินอาหารได้แทบทุกชนิด มีความต้านทานโรคและสภาพแวดล้อมสูงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ แต่ปลาดุกชนิดนี้มีเนื้อเหลว และมีสีซีดขาว ไม่น่ารับประทานซึ่งกรมประมงได้ให้ชื่อว่า ปลาดุกเทศ
     จากการศึกษาทางลักษณะรูปร่างและชีววิทยาของปลาดุกเทศทางกลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าจืดได้ทำ การเพาะขยายพันธุ์ปลาโดยนำ มาผสมพันธุ์กับปลาดุกอุยและปลาดุกเทศผลปรากฏว่า การผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง ปลาดุกอุยเพศเมียผสมกับปลาดุกเทศเพศผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ดีลูกที่ได้มีอัตราการเจริญเติบโตรวดเร็ว ทนทานต่อโรคสูง มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาดุกอุยจึงทำ ให้เกษตรกรนำ วิธีการผสมข้ามพันธุ์ไปปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งลูกหลานที่เกิดจากคู่ผสมนี้ทางกรมประมงให้ชื่อว่า ปลาดุกอุย
-เทศ แต่โดยทั่วๆไปชาวบ้านเรียกกันว่า บิ๊กอุย หรือ อุยบ่อ ส่วนการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุกอุยเพศผู้กับปลาดุกเทศเพศเมียลูกที่ได้ไม่แข็งแรงและเหลือรอดน้อย เมื่อเทียบกับการเพาะพันธุ์เพื่อให้ได้ปลาบิ๊กอุย ส่วนการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุกด้านกับปลาดุกเทศ ไม่ประสบผลสำ เร็จเท่าที่ควรในปัจจุบันนี้อาจกล่าวได้ว่าปลาดุกลูกผสมอุย-เทศหรือบิ๊กอุยนั้นเป็นที่นิยมเลี้ยงของเกษตรกร เนื่องจากเลี้ยงง่ายมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว อีกทั้งทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้อมได้ดี ทั้งยังเป็นที่นิยมบริโภคของประชาชนเนื่องจากมีรสชาติดีและราคาถูกMore detail ?

การเลี้ยงปลาช่อน

ข้อมูลทั่วไป
ชื่อไทย ช่อน
(ภาคกลางและภาคใต้ ) , ค้อ ( ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ )
ชื่อสามัญ
STRIPED SNAKE-HEAD FISH
ชื่อวิทยาศาสตร์
Channa striatus
ปลาช่อนเป็นปลาพื้นเมืองของไทย พบอาศัยแพร่กระจายทั่วไปตามแหล่งน้ำทั่วทุกภาค
ของไทย อาศัยอยู่ในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ หนองและบึง ปลาช่อนเป็นปลาน้ำจืด
ที่มีมาหลายร้อยพันปีแล้วนอกจากจะพบในประเทศไทยยังมีแพร่หลายในประเทศจีน อินเดีย ศรี
ลังกา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือว่าการเลี้ยงปลาช่อนในประเทศไทยเกิดขึ้น
ครั้งแรกที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรีประมาณ
อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นนายทุนได้รวบรวมลูกพันธุ์จากแหล่งน้ำธรรมชาติใน
เขตพื้นที่อำเภอสองพี่น้อง มาทดลองเลี้ยงดูและเห็นว่าพอเลี้ยงได้จึงออกทุนให้กับคนญวนที่มี
ภูมิลำเนาติดกับแม่น้ำท่าจีนและคลองสองพี่น้องในตำบลสองพี่น้อง ตำบลต้นตาล โดยสร้าง
กระชังในล่อนแล้วแต่ขนาดและความเหมาะสม นำลูกปลาช่อนมาลงเลี้ยง โดยผลผลิตที่ได้
นายทุนจะรับซื้อเอง แต่ทำได้ไม่นานก็ต้องเลิกเพราะเกษตรกรบางรายนำลูกปลาช่อนไปลอง
เลี้ยงในบ่อดินและพบว่าได้ผลดีกว่าและต้นทุนต่ำกว่า และปริมาณลูกปลาช่อนที่ได้รับก็มีจำนวน
มากกว่า
40 ปีมาแล้ว โดยชาวจีนที่ตลาดบางลี่
ลักษณะทั่วไป
ปลาช่อนเป็นปลามีเกล็ด ลำตัวอ้วนกลมและยาวเรียว ท่อนหางแบนข้าง หัวแบนลง
เกล็ดมีขนาดใหญ่และเกล็ดตามลำตัวเป็นสีเทาจนถึงน้ำตาลอมเทา ปากกว้างมาก มุมปากยาว
ถึงตา ริมฝีปากล่างยื่นยาวกว่าริมฝีปากบน มีฟันซี่เล็กๆอยู่บนขากรรไกรทั้งสองข้าง ตามีขนาด
ใหญ่ ครีบทุกครีบไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหลังและครีบก้นยาวจนเกือบถึงโคนหาง ครีบหลังมีก้าน
ครีบ
กลม โคนครีบหางแบนข้างมาก ลำตัวส่วนหลังมีสีดำ ท้องสีขาว ด้านข้างลำตัวมีลายดำพาด
เฉียง เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมีจำนวน
ช่อนจึงมีความอดทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี อยู่ในที่ชื้นๆได้นาน และสามารถเคลื่อนไหวไปมาบ
นบกหรือฝังตัวอยู่ในโคลนได้เป็นเวลานานๆ
38-42 อัน ครีบก้นมีก้านครีบ 24-26 อัน ครีบอกมีขนาดใหญ่ ครีบท้องมีขนาดเล็ก ครีบหาง49-55 เกล็ด และมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ปลาMore detail ?
Code by : paid web directory